วิทยาศาสตร์กับชีวิตประจำวัน
แล้วคุณจะรู้ว่าวิทยาศาสตร์อยู่ในทุกอณูของชีวิต ลองคลิ๊กเข้าไปดูสิคะ....











รู้ไว้ใช่ว่า กับวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวันกันเถอะค่ะ
โครงงานวิทยาศาสตร์ยางกล้วยช่วยเพ้นท์ผ้า
บทคัดย่อ
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ยางกล้วยช่วยเพ้นท์ผ้า เป็นโครงงานระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จัดทำ
ขึ้นเพื่อ เปรียบเทียบว่าผ้าชนิดใดเหมาะสมกับการเพ้นท์ผ้า ศึกษาสีของผ้าหลังจากเพ้นท์
ด้วยยางกล้วย นำไปย้อม ซัก แล้วตากให้แห้ง และศึกษาความคงทนสีของผ้า
หลังจากเพ้นท์ด้วยยางกล้วย โดยได้ทำการศึกษาทดลอง ตอนที่ 1 นำผ้าแมมเบอร์กผ้ามัสลิน
ผ้าดิบ นำมาตัดให้มีขนาด 11 x11 นิ้ว จำนวน ชนิดละ 1 ผืน เย็บริมให้เรียบร้อย นำไปซักตาก
ให้แห้ง รีดให้เรียบ นำผ้าแต่ละชนิดไปขึงกับเฟรมวาดรูปตามต้องการ นำช้อนตักแกง ทุบที่ปลาย
ด้ามด้วยค้อนให้มีรูขนาดเล็ก ใช้สำหรับเขียนเทียน ต้มเทียนไขให้ละลาย นำช้อนที่เตรียมไว้ มาชุบ
เทียนที่ละลายแล้วเขียนตามเส้นลวดลายที่วาดไว้ นำยางกล้วยมาระบายตามรูปภาพ
โดยใช้พู่กัน ตากให้แห้ง ต้มน้ำเตรียมสีย้อมผ้า นำผ้าลงย้อมใช้แท่งแก้ว-คนสาร
คนไปมาเพื่อให้ผ้าที่ย้อมสัมผัสกับสีย้อมผ้าทุกส่วน ประมาณ 5 นาที ซักตากให้แห้ง
สังเกตสีของผ้า บันทึกผล
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ยางกล้วยช่วยเพ้นท์ผ้า เป็นโครงงานระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จัดทำ
ขึ้นเพื่อ เปรียบเทียบว่าผ้าชนิดใดเหมาะสมกับการเพ้นท์ผ้า ศึกษาสีของผ้าหลังจากเพ้นท์
ด้วยยางกล้วย นำไปย้อม ซัก แล้วตากให้แห้ง และศึกษาความคงทนสีของผ้า
หลังจากเพ้นท์ด้วยยางกล้วย โดยได้ทำการศึกษาทดลอง ตอนที่ 1 นำผ้าแมมเบอร์กผ้ามัสลิน
ผ้าดิบ นำมาตัดให้มีขนาด 11 x11 นิ้ว จำนวน ชนิดละ 1 ผืน เย็บริมให้เรียบร้อย นำไปซักตาก
ให้แห้ง รีดให้เรียบ นำผ้าแต่ละชนิดไปขึงกับเฟรมวาดรูปตามต้องการ นำช้อนตักแกง ทุบที่ปลาย
ด้ามด้วยค้อนให้มีรูขนาดเล็ก ใช้สำหรับเขียนเทียน ต้มเทียนไขให้ละลาย นำช้อนที่เตรียมไว้ มาชุบ
เทียนที่ละลายแล้วเขียนตามเส้นลวดลายที่วาดไว้ นำยางกล้วยมาระบายตามรูปภาพ
โดยใช้พู่กัน ตากให้แห้ง ต้มน้ำเตรียมสีย้อมผ้า นำผ้าลงย้อมใช้แท่งแก้ว-คนสาร
คนไปมาเพื่อให้ผ้าที่ย้อมสัมผัสกับสีย้อมผ้าทุกส่วน ประมาณ 5 นาที ซักตากให้แห้ง
สังเกตสีของผ้า บันทึกผล
สำหรับตอนที่ 2 ทำการทดลองเหมือนกับขั้นตอนที่ 1 แต่ใช้เฉพาะผ้ามัสลิน แล้วเปลี่ยนสีย้อม
ผ้า เป็นสีแดง เหลือง น้ำเงิน เขียว ส้ม ผลการศึกษาพบว่า ผ้าที่เหมาะสำหรับเพ้นท์ด้วยยางกล้วยคือ ผ้ามัสลิน รองลงมาคือ ผ้าแมมเบอร์ก ส่วนผ้าดิบไม่เหมาะสำหรับนำมาเพ้นท์ด้วยยางกล้วย เพราะจะให้สีขรุขระไม่เรียบ ผ้าที่เพ้นท์ด้วยยางกล้วยแล้วนำไปย้อมบริเวณที่เพ้นท์ด้วยยางกล้วยจะให้สี ผ้าเหมือนกับสีที่นำมาย้อม หรือสีใกล้เคียง ส่วนบริเวณอื่นจะให้สีจางลง ผ้าที่เพ้นท์ด้วยยางกล้วยแล้วนำไปย้อม สีของผ้าจะมีความคงทน ส่วนผ้าที่ไม่ได้เพ้นท์ ด้วยยางกล้วยสีจะซีดจางลงตามลำดับ
ผ้า เป็นสีแดง เหลือง น้ำเงิน เขียว ส้ม ผลการศึกษาพบว่า ผ้าที่เหมาะสำหรับเพ้นท์ด้วยยางกล้วยคือ ผ้ามัสลิน รองลงมาคือ ผ้าแมมเบอร์ก ส่วนผ้าดิบไม่เหมาะสำหรับนำมาเพ้นท์ด้วยยางกล้วย เพราะจะให้สีขรุขระไม่เรียบ ผ้าที่เพ้นท์ด้วยยางกล้วยแล้วนำไปย้อมบริเวณที่เพ้นท์ด้วยยางกล้วยจะให้สี ผ้าเหมือนกับสีที่นำมาย้อม หรือสีใกล้เคียง ส่วนบริเวณอื่นจะให้สีจางลง ผ้าที่เพ้นท์ด้วยยางกล้วยแล้วนำไปย้อม สีของผ้าจะมีความคงทน ส่วนผ้าที่ไม่ได้เพ้นท์ ด้วยยางกล้วยสีจะซีดจางลงตามลำดับ
อุปกรณ์และวิธีการดำเนินงาน
วัสดุ /อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา
1. ผ้ามัสลิน ผ้าแมมเบอร์ก ผ้าดิบ 2. ยางกล้วย
3. ช้อนตักแกง 4. สีย้อมผ้า
5. บิกเกอร์ 6. ตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลมและตะแกรงลวด
7. เฟรม 8. ถังน้ำ
9. ช้อนตักสาร 10. แท่งแก้วคนสาร
11. พู่กัน 12. เทียนไขสีขาว
13. ไม้ขีดไฟ 14. สก็อตเทปใส
วิธีการศึกษาทดลอง
ตอนที่ 1
1. นำผ้าแมมเบอร์ก ผ้ามัสลิน ผ้าดิบ นำมาตัดให้มีขนาด 11 x11 นิ้ว จำนวน
ชนิดละ 1 ผืน เย็บริมให้เรียบร้อย นำไปซัก ตากให้แห้ง รีดให้เรียบ
2. นำผ้าแต่ละชนิดไปขึงกับเฟรม วาดรูปตามต้องการ
3. นำช้อนตักแกง ทุบที่ปลายด้ามด้วยค้อนให้มีรูขนาดเล็ก ใช้สำหรับเขียนเทียน
4. ต้มเทียนไขให้ละลาย นำช้อนที่เตรียมไว้ในข้อ 3 โดยนำมาชุบเทียนที่ละลายแล้ว
เขียนตามเส้นลวดลายที่วาดไว้
5. นำยางกล้วยมาระบายตามรูปภาพโดยใช้พู่กัน
6. นำไปตากให้แห้ง
7. ต้มน้ำเตรียมสีย้อมผ้า นำผ้าลงย้อม ใช้แท่งแก้วคนสารคนไปมาเพื่อให้ผ้าที่ย้อม
สัมผัสกับสีย้อมผ้าทุกส่วน ประมาณ 5 นาที
8. นำไปซักตากให้แห้ง
9. สังเกตสีของผ้า บันทึกผล
10. ทดลองซ้ำ ตั้งแต่ข้อ 1-9
ตอนที่ 1
1. นำผ้าแมมเบอร์ก ผ้ามัสลิน ผ้าดิบ นำมาตัดให้มีขนาด 11 x11 นิ้ว จำนวน
ชนิดละ 1 ผืน เย็บริมให้เรียบร้อย นำไปซัก ตากให้แห้ง รีดให้เรียบ
2. นำผ้าแต่ละชนิดไปขึงกับเฟรม วาดรูปตามต้องการ
3. นำช้อนตักแกง ทุบที่ปลายด้ามด้วยค้อนให้มีรูขนาดเล็ก ใช้สำหรับเขียนเทียน
4. ต้มเทียนไขให้ละลาย นำช้อนที่เตรียมไว้ในข้อ 3 โดยนำมาชุบเทียนที่ละลายแล้ว
เขียนตามเส้นลวดลายที่วาดไว้
5. นำยางกล้วยมาระบายตามรูปภาพโดยใช้พู่กัน
6. นำไปตากให้แห้ง
7. ต้มน้ำเตรียมสีย้อมผ้า นำผ้าลงย้อม ใช้แท่งแก้วคนสารคนไปมาเพื่อให้ผ้าที่ย้อม
สัมผัสกับสีย้อมผ้าทุกส่วน ประมาณ 5 นาที
8. นำไปซักตากให้แห้ง
9. สังเกตสีของผ้า บันทึกผล
10. ทดลองซ้ำ ตั้งแต่ข้อ 1-9
ตอนที่ 2
1. นำผ้ามัสลินมาตัดให้มีขนาด 11 x11 นิ้ว เย็บริมให้เรียบร้อย นำไปซัก ตาก
ให้แห้ง รีดให้เรียบ
2. นำผ้าแต่ละชนิดไปขึงกับเฟรม วาดรูปตามต้องการ
3. นำช้อนตักแกง ทุบที่ปลายด้ามด้วยค้อนให้มีรูขนาดเล็ก ใช้สำหรับเขียนเทียน
4. ต้มเทียนไขให้ละลาย นำช้อนที่เตรียมไว้ในข้อ 3 โดยนำมาชุบเทียนที่ละลายแล้ว
เขียนตามเส้นลวดลายที่วาดไว้
5. นำยางกล้วยมาระบายตามรูปภาพโดยใช้พู่กัน
6. นำไปตากให้แห้ง
7. ต้มน้ำเตรียมสีย้อมผ้าสีแดง นำผ้าลงย้อมใช้แท่งแก้วคนสารคนไปมา
เพื่อให้ผ้าที่ย้อมสัมผัสกับสีย้อมผ้าทุกส่วน
8. นำไปซักตากให้แห้ง
9. สังเกตสีของผ้า บันทึกผล
10. ทดลองเหมือนกับข้อ 1-9 แต่เปลี่ยนสีย้อมผ้าเป็นสีเขียว เหลือง ส้ม น้ำเงิน
11. ศึกษาความคงทนสีของผ้าโดยนำผ้ามัสลินที่มีขนาดเท่ากัน เย็บริมให้เรียบร้อย
มาจำนวน 10 ผืน นำผ้าจำนวน 5 ผืนไปเพ้นท์ด้วยยางกล้วยให้ทั่วทุกผืน
ตากให้แห้ง เตรียมสีย้อมผ้าแล้วนำผ้าทั้งหมดลงย้อม นำผ้าไปซัก ตากให้แห้ง
สังเกต บันทึกผลหลัง การซัก
1. นำผ้ามัสลินมาตัดให้มีขนาด 11 x11 นิ้ว เย็บริมให้เรียบร้อย นำไปซัก ตาก
ให้แห้ง รีดให้เรียบ
2. นำผ้าแต่ละชนิดไปขึงกับเฟรม วาดรูปตามต้องการ
3. นำช้อนตักแกง ทุบที่ปลายด้ามด้วยค้อนให้มีรูขนาดเล็ก ใช้สำหรับเขียนเทียน
4. ต้มเทียนไขให้ละลาย นำช้อนที่เตรียมไว้ในข้อ 3 โดยนำมาชุบเทียนที่ละลายแล้ว
เขียนตามเส้นลวดลายที่วาดไว้
5. นำยางกล้วยมาระบายตามรูปภาพโดยใช้พู่กัน
6. นำไปตากให้แห้ง
7. ต้มน้ำเตรียมสีย้อมผ้าสีแดง นำผ้าลงย้อมใช้แท่งแก้วคนสารคนไปมา
เพื่อให้ผ้าที่ย้อมสัมผัสกับสีย้อมผ้าทุกส่วน
8. นำไปซักตากให้แห้ง
9. สังเกตสีของผ้า บันทึกผล
10. ทดลองเหมือนกับข้อ 1-9 แต่เปลี่ยนสีย้อมผ้าเป็นสีเขียว เหลือง ส้ม น้ำเงิน
11. ศึกษาความคงทนสีของผ้าโดยนำผ้ามัสลินที่มีขนาดเท่ากัน เย็บริมให้เรียบร้อย
มาจำนวน 10 ผืน นำผ้าจำนวน 5 ผืนไปเพ้นท์ด้วยยางกล้วยให้ทั่วทุกผืน
ตากให้แห้ง เตรียมสีย้อมผ้าแล้วนำผ้าทั้งหมดลงย้อม นำผ้าไปซัก ตากให้แห้ง
สังเกต บันทึกผลหลัง การซัก
ระบบนิเวศ หมายถึง หน่วยของความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่แหล่งใดแหล่งหนึ่ง มาจากรากศัพท์ในภาษากรีก 2 คำ คือOikos แปลว่า บ้าน, ที่อยู่อาศัย,แหล่งที่อยู่ของสิ่งมีชีวิตLogos แปลว่า เหตุผล, ความคิด
ความหมายของคำต่างๆ ในระบบนิเวศ
- สิ่งมีชีวิต (Organism)หมายถึง สิ่งที่ต้องใช้พลังงานในการดำรงชีวิต
- ประชากร (Population)หมายถึง สิ่งมีชีวิตทั้งหมดที่เป็นชนิดเดียวกัน อาศัยอยู่ในแหล่งที่อยู่เดียวกัน ณ ช่วงเวลาเดียวกัน
- กลุ่มสิ่งมีชีวิต (Community) หมายถึง สิ่งมีชีวิตต่างๆ หลายชนิด มาอาศัยอยู่รวมกันในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง โดยสิ่งมีชีวิตนั้นๆ มีความสัมพันธ์กันโดยตรงหรือโดยทางอ้อม
- โลกของสิ่งมีชีวิต (Biosphere) หมายถึง ระบบนิเวศหลายๆ ระบบนิเวศมารวมกัน
- แหล่งที่อยู่ (Habitat)หมายถึง แหล่งที่อยู่อาศัยของกลุ่มสิ่งมีชีวิตต่างๆ ทั้งบนบกและในน้ำ
- สิ่งแวดล้อม (Environment)หมายถึง สิ่งที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
[แก้] ส่วนประกอบ
ในระบบนิเวศหนึ่งๆ นั้น จะประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 2 ส่วนด้วยกัน คือ- องค์ประกอบที่มีชีวิต ซึ่งแบ่งย่อยออกไปตามหน้าที่ ได้ดังนี้
- ผู้ผลิต หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารได้ด้วยตัวเองจากพลังงานแสงอาทิตย์เพราะมีสารสีเขียวที่เรียกว่า คลอโรพีลล์ซึ่งได้แก่ พืชสีเขียวทุกชนิดและบัคเตรีบางชนิดรวมทั้งสิ้นประมาณ 300,000ชนิด พืชเหล่านี้สร้างอาหารโดยอาศัยพลังงานจากดวงอาทิตย์และอนินทรียสาร
- ผู้บริโภค เป็นสิ่งมีชีวิตที่ตัวมันเองไม่สามารถสร้างอาหารได้ต้องอาศัยการกินพืชและสัตว์อื่นๆ
- ผู้ย่อยสลาย เป็นพวกที่ปรุงอาหารเองไม่ได้ ต้องอาศัยซากของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เป็นอาหาร ได้แก่ จุลินทรีย์ต่าง ๆ ส่วนใหญ่ ได้แก่ บัคเตรี เห็ด รา ยีสต์ ฟังไจ สิ่งมีชีวิตเล็กๆ เหล่านี้ จะทำการย่อยสลายซากชีวิตต่างๆ โดยการขับเอนไซม์ออกมาย่อยสลายจนอยู่ในรูปของสารละลาย แล้วจากนั้นก็ดูดซับเข้าไปในลำตัวของมันต่อไป การย่อยสลายในระดับดังกล่าวได้ก่อให้เกิดสารประกอบในรูปของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน และแร่ธาตุต่างๆ ซึ่งกลุ่มผู้ย่อยสลายจะทำหน้าที่เปลี่ยนสารอินทรีย์เหล่านี้ให้เป็นสารอนินทรีย์ ได้แก่ แคลเซียม ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม เพื่อให้พืชสีเขียวดังไปใช้สร้างธาตุอาหารต่อไปใหม่
- องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต ซึ่งประกอบด้วย
- อนินทรียสาร ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจน น้ำ ไฮโดรเจน ฟอสฟอรัส ซัลเฟอร์ โซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม ฯลฯ
- อินทรียสาร ได้แก่ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน ฯลฯ ซึ่งพืชและสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กทั้งหลาย ทำการสังเคราะห์ขึ้นมาจากสารอนินทรีย์ *
- ภูมิอากาศ ได้แก่ แสง อุณหภูมิความชื้น น้ำฝน